===Not Click=== ===Not Click===

จุดสังเกตเนื้อพระรอด

1. โซนเนื้อละเอียด
2. โซนเนื้อละเอียดปนหยาบ
3. โซนเนื้อหยาบ


คราบธรรมชาติในพระรอดแท้

1. เกาะแคลเซี่ยม หมายความว่าพระรอดที่ฝั่งลึกในดิน ระดับความลึก 5-6 เมตร เนื้องจากแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ทำให้เมืองลำพูน กลายเป็น เมืองใต้พิภพ( City underground) จาการสอบถามข้อมูลจากกรมรณีวิทยา เพราะเมืองลำพุนี้ เป็นรอยปริของเปลือกโลกชั้นล่าง จะเกิดแผ่นดินไหว ทุกๆ 500-600 ปี มีผลทำให้พระรอด ที่สร้างยุคแรก อยู่ในดินชั้นล่าง ซึ่งใกล้ระดับตาน้ำ มีการระบายอากาศภายในองค์พระ/เนื้อพระ (oxidation ) ทำให้ผิวพระพรุนไม่เรียบ แคลเซี่ยมที่อยู่ในดินชั้นล่าง จะเกาะตัวเป็นชั้นๆ ถ้าส่องด้วยกลัองจุลทัศน์ จะเห็นชัดเจน ชาวบ้านเรียกว่า ลักษณะนี้ว่าหนังปลากระเบน ในกรณีนี้ ทำให้ทราบว่าพระรอดนั้นที่อายุ ถึง 1,300 ปี ในขบวนการทางวิทยาศาสตร์อจัด เนื้อพระแห้งมากครับ ถ่ายรูปไม่ค่อยสวยครับองค์จริงสวยมากๆ คราบธรรมชาติต่างที่กล่าวมาเบื้องต้น ไม่ปรากฏในพระรอด เก้.......

มวลสารที่สำคัญในพระรอดแท้

1. แร่ดอกมะขาม
2. โพรงเหล็กไหล
3. แร่เหล็กไหล
4. เหล็กน้ำพี้
5. เหล็กไหลตาแรด
6. เมฆพัสตร์
7. น้ำศักสิทธิ์ (ดอยขม้อจ.ลำพูน)/น้ำอมฤต
8. ดินศักดิ์สิทธิ์ศิลาธิคุณ
9. ว่านร้อยแปด
10. ดินบริสุทธิ์
11. ศาสตราวุธเก่า
12. พระธาตุศักดิ์ศิทธิ์อย่างน้อยมีแก้วเก้า
13. เพชรตาแมว
14. ว่านงู
การพิจารณาคราบธรรมชาติในพระรอด หมายความว่า สภาพทางธรรมชาติที่พระรอดนั้นมีอิทธิพลค่อพระรอด ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทางเคมีและทางกายภาพ ความแตกต่างในด้านสี และเนื้อหาสาระที่พอจะแยกลักษณะตามที่ค้นพบในประสพการณ์ดังนี้

แยกตามชั้นของดิน
แยกตามภาชานะที่บรรจุหม้อโคนโท
ระดับความชื้นระดับน้ำใต้ดิน
ลักษณะแร่ธาตุในดิน/แคลเซี่ยม/น้ำฮาก

ความลึกระดับหินศิลาแลง
คราบราดำ/ราน้ำตาล

15. ว่านไพลดำ
16. ว่านนกคุ้ม
17. ผงยาฤาษี
18. ผงมหาราชแดง

0 comments:

Post a Comment